ภาษีมูลค่าเพิ่ม (Value Added Tax – VAT) หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า แวต เป็นภาษีทางอ้อมประเภทหนึ่งที่เรียกเก็บจากบุคคลที่ซื้อสินค้า หรือรับบริการ โดยจัดเก็บเฉพาะจากมูลค่าส่วนที่เพิ่มขึ้นในแต่ละขั้นตอนของการผลิต การจำหน่ายหรือการให้บริการ ตัวอย่างเช่น สมมติว่าอัตราภาษีมูลค่าเพิ่มเป็นร้อยละ 10 ซื้อวัตถุดิบ วัสดุอุปกรณ์มา 100 บาท และมีภาษีซื้อ 10 บาท เมื่อผลิตเป็นสินค้าขายในราคา 150 บาท ตอนขายไปจะต้องคิดภาษีขาย 15 บาท ดังนี้ ก็จะเสียภาษีมูลค่าเพิ่มเฉพาะผลต่างจำนวน 15-10 = 5 บาท เท่านั้น ถ้าการซื้อ และขายเกิดขึ้นภายในรอบการจ่ายภาษีเดียวกัน.
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
คำค้นหาที่เกี่ยวข้อง : Value Added Tax, VAT, การจ่ายภาษี, จ่ายภาษี, ภาษี, ภาษีขาย, ภาษีซื้อ, ภาษีมูลค่าเพิ่ม, มูลค่าเพิ่ม, วัตถุดิบ, วัสดุอุปกรณ์, อัตราภาษี, อัตราภาษีมูลค่าเพิ่ม
Posted in ความรู้เรื่องภาษี, บทความเกี่ยวกับบัญชี | No Comments »
อัตราภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา เมื่อได้ยอดเงินได้สุทธิแล้ว นำไปคำนวณภาษีตามอัตราภาษี ดังนี้
งินได้สุทธิ
|
ช่วงเงินได้สุทธิ
แต่ละขั้น |
อัตราภาษี
ร้อยละ |
ภาษีแต่ละขั้น
เงินได้สุทธิ |
ภาษีสะสม
สูงสุดของขั้น |
1 – 150,000
|
150,000
|
ได้รับยกเว้น
|
–
|
–
|
150,001 – 500,000
|
350,000
|
10
|
35,000
|
35,000
|
500,001 – 1,000,000
|
500,000
|
20
|
100,000
|
135,000
|
1,000,001 – 4,000,000
|
3,000,000
|
30
|
900,000
|
1,035,000
|
4,000,001 บาทขึ้นไป
|
|
37
|
หมายเหตุ :- การยกเว้นภาษีเงินได้บุคคล ธรรมดา เงินได้สุทธิเฉพาะส่วนไม่เกิน 150,000 บาท มีผลใช้บังคับสำหรับเงินได้สุทธิที่เกิดขึ้นในปีพ.ศ. 2551 เป็นต้นไป ( พระราชกฤษฎีกา ( ฉบับที่ 470 ) พ.ศ. 2551 )
คำค้นหาที่เกี่ยวข้อง : การยกเว้นภาษี, คำนวณภาษี, อัตราภาษี
Posted in ข่าวประชาสัมพันธ์ | No Comments »